วันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Future Simple Tense


Group : lotus 102-02

Members

1.Yannawut  Duangjit               M.1/2  No.1     ID: YD102-01
2.Thanaphat  Sriboonma           M.1/2  No.3     ID: TS102-03
3.Thanawat  Nanavichit            M.1/2  No.6     ID: TN102-06
4.Phutanes   Thangvorathum      M.1/2  No.10   ID: PT102-10
5.Thanawit   Norkam                M.1/2  No.23    ID: TN102-23
6.Athit          Traisaeng             M.1/2  No.30    ID: AT102-30
7.Pongdach   Laowpanich          M.1/2  No.33    ID: PL102-33
8.Anakawee  Sumritjearapol      M.1/2 No.34     ID: AS102-34
9.Tanawut     Wannasathian       M.1/2  No.35    ID: TW102-35
10.Chanakarn  Yanasarn             M.1/2  No.36    ID: CY102-36
11.Onnicha   Kesornsri              M.1/2  No.45     ID: OK102-45

Future Simple Tense

ประโยค Future Perfect Progressive Tense เชิงบอกเล่า 

โครงสร้าง:       Subject + will, shall + have + been + V.1 ing
(ประธาน+ will shall +have +been + กริยาช่อง 1 เติม ing)
ตัวอย่าง:   1. She will have been playing tennis. (หล่อนคงจะเล่นเทนนิสอยู่)
2. They will have been cooking. (เขาทั้งหลายคงจะทำอาหารอยู่)


ประโยค Future Simple Tense เชิงเชิงคำถามและการตอบ

เมื่อต้องการแต่งประโยค Future Simple Tense ให้มีความหมาย เชิงคำถามให้นำ will หรือ shall มาวางไว้หน้าประโยค และตอบด้วย Yes หรือ No ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง:      Will, Shall + Subject + verb 1? (Will, Shall + ประธาน + กริยาช่อง 1?)
ตัวอย่าง: 1. Shall you go to Chiang mai tomorrow? (คุณจะไปเชียงใหม่วันพรุ่งนี้ใช่หรือไม่)
              - Yes, I shall. (ใช่ฉันจะไป) /
                No, I shan’t. (ไม่ฉันจะไม่ไป)

ประโยค Future Simple Tense เชิงปฏิเสธ

เมื่อต้องการแต่งประโยค Future Simple Tense ให้มีความหมายเชิงปฏิเสธให้เติม not หลัง will หรือ shall ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง: Subject + will, shall + not + V.1 (ประธาน + will, shall + not + กริยาช่อง 1)
ตัวอย่าง: 1. I shall not (shan’t) go to Chiang mai tomorrow.
              (ฉันจะไม่ไปเชียงใหม่วันพรุ่งนี้)

หลักการใช้ Future Simple Tense

1. ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
- My father will go to America next month. (พ่อของฉันจะไปอเมริกาเดือนหน้า)
- I shall play football tomorrow afternoon. (ฉันจะเล่นฟุตบอลบ่ายวันพรุ่งนี้)

Past Continuous Tense



Group : lotus 102-02

Members

1.Yannawut  Duangjit               M.1/2  No.1     ID: YD102-01
2.Thanaphat  Sriboonma           M.1/2  No.3     ID: TS102-03
3.Thanawat  Nanavichit            M.1/2  No.6     ID: TN102-06
4.Phutanes   Thangvorathum      M.1/2  No.10   ID: PT102-10
5.Thanawit   Norkam                M.1/2  No.23    ID: TN102-23
6.Athit          Traisaeng             M.1/2  No.30    ID: AT102-30
7.Pongdach   Laowpanich          M.1/2  No.33    ID: PL102-33
8.Anakawee  Sumritjearapol      M.1/2 No.34     ID: AS102-34
9.Tanawut     Wannasathian       M.1/2  No.35    ID: TW102-35
10.Chanakarn  Yanasarn             M.1/2  No.36    ID: CY102-36
11.Onnicha   Kesornsri              M.1/2  No.45     ID: OK102-45


Past Continuous Tense

1. รูปแบบประโยค

ประโยคบอกเล่า

ประธาน (Subject)กริยา (was/were + กริยาเติม ing)
Warawanwas smiling.

ประโยคคำถาม

Was/Wereประธาน (Subject)กริยาเติม ing
WasWarawansmiling?

ประโยคปฏิเสธ

ประธาน (Subject)was/werenotกริยาเติม ing
Warawanwasnotsmiling.

2. การใช้ Past Continuous Tense

  1. ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นและมีเหตุการณ์อีกอย่างหนึ่งที่ใช้เวลาสั้นกว่าเกิดขึ้นขัดจังหวะ เช่น คนกำลังกินข้าว และมีเสียงโทรศัพท์ดังขึ้น คนกำลังกินข้าว เป็นเหตุการที่กำลังเกิดขึ้นก่อนแล้ว และกำลังดำเนินอยู่ แต่ขณะกำลังดำเนินอยู่นั้นก็มีเสียงโทรศัพท์ดังขึ้น เหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นแล้วในอดีต จะใช้เป็น Past Continuous Tense และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาขัดจังหวะ จะใช้เป็น Past Simple Tense

    ตัวอย่างอื่น ๆ
    I was watching TV when she called. ผมกำลังดูโทรทัศน์ตอนที่เธอโทรมา
    While we were having the picnic, it started to rain ตอนที่พวกเรากำลังปิคนิค ฝนก็ตกลงมา
    What were you doing when the fire alarm broke out? คุณกำลังทำอะไรตอนที่เกิดไฟไหม้
    My friends were waiting for me, when I got off the bus. เพื่อน ๆ กำลังคอยผมอยู่ ตอนที่ผมลงจากรถ
    While I was surfing the internet, the computer suddenly went off. ขณะที่ผมกำลังเล่นเน็ต คอมพิวเตอร์ก็ดับปุ๊บไปเลย
  2. มีการระบุเวลาที่ชัดเจนในอดีต เพื่อระบุว่ากำลังทำอะไรอยู่
    Last night at 6 PM, I was eating dinner. เมื่อวานตอนหกโมงเย็น ผมกำลังกินอาหารค่ำ
    At midnight, we were still talking. ตอนเที่ยงคืน พวกเรายังกำลังคุยกันอยู่
    จะสังเกตเห็นได้ว่า เวลาที่บอก เป็นจุดของเวลา บอกว่า ณ เวลาขณะนั้น กำลังทำอะไรอยู่
    ในกรณีที่เป็น Past Simple Tense เวลาที่ระบุ เป็นการบอกว่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น หรือสิ้นสุดลง ไม่ได้บอกว่ากำลังเกิดขึ้น
    Last night at 6 P.M. I ate dinner (Past Simple Tense) ตอน 6 โมงเย็นผมกินข้าว (เริ่มกินข้าวตอน 6 โมง)
    Last night at 6 P.M. I was eating dinner. (Past Continuous Tense) เริ่มกินข้าวก่อน 6 โมง พอถึง 6 โมง ก็กำลังกินอยู่ ยังกินไม่เสร็จ
  3. ใช้บอกว่ามีเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์กำลังเกิดขึ้นพร้อมกัน
    I was working in the garden while my wife was making dinner. ผมกำลังทำงานในสวน ขณะที่ภรรยากำลังทำอาหารเย็น
    While Suda was reading, Somsal was watching television. ขณะที่สุดาอ่านหนังสือ สมศักดิ์ดูโทรทัศน์
    Were you listening while he was talking? คุณกำลังฟังในขณะที่เขากำลังพูดหรือเปล่า
    I wasn't paying attention while I was writing the letter, so I made several mistakes. ตอนที่เขียนจดหมาดไม่ค่อยได้เอาใจใส่เท่าไหร่ ก็เลยทำผิดไปหลายแห่ง
    They were eating and discussing their plan. เขากำลังกินอาหารและวางแผนไปด้วย
  4. ใช้กับการพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำอีกในอดีตที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น ในกรณีนี้ จะมีคำว่า Always เสมอ ๆ หรือมีคำว่า constantly เพื่อย้ำว่าเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก พฤติกรรมที่ว่าข้างต้น ปัจจุบันเลิกทำแล้ว กรณีนี้มีความหมายเหมือนคำว่า used to เพียงแต่มีความหมายไปในทางลบ เช่น
    He was constantly talking. He annoyed everyone. เมื่อก่อนหมอนั่นคุยไม่หยุด ทำให้ทุกคนเบื่อหน่ายมาก (ปัจจุบันหายแล้ว)
    I didn't like them because they were always complaining. ผมไม่ชอบพวกนั้นเพราะบ่นกันเป็นประจำ (ตอนนี้พวกนั้นเลิกบ่นแล้ว แต่จะชอบหรือไม่ ไม่ทราบ แต่เมื่อก่อนนี้ไม่ชอบเอาเสียเลย)

While VS When

When ใช้กับการพูดถึงเรื่องต่าง ๆ ในอดีตโดยทั่วไป ดังนั้น ประโยคที่ตามมาจึงมักจะเป็น Past Simple Tense ส่วนคำว่า While ใช้เน้นที่การกระทำซึ่งกำลังเกิดขึ้นในระหว่างช่วงเวลานั้น ๆ ทั้ง When และ While เน้นการกระทำที่ไม่เหมือนกันในประโยค เช่น
I was studying when she called. ผมกำลังเรียนอยู่ตอนที่เธอโทรมา
I was studying when she called. ขณะที่ผมกำลังเรียนอยู่ เธอโทรมาพอดี

Past Simple Tense


Group : lotus 102-02

Members

1.Yannawut  Duangjit               M.1/2  No.1     ID: YD102-01
2.Thanaphat  Sriboonma           M.1/2  No.3     ID: TS102-03
3.Thanawat  Nanavichit            M.1/2  No.6     ID: TN102-06
4.Phutanes   Thangvorathum      M.1/2  No.10   ID: PT102-10
5.Thanawit   Norkam                M.1/2  No.23    ID: TN102-23
6.Athit          Traisaeng             M.1/2  No.30    ID: AT102-30
7.Pongdach   Laowpanich          M.1/2  No.33    ID: PL102-33
8.Anakawee  Sumritjearapol      M.1/2 No.34     ID: AS102-34
9.Tanawut     Wannasathian       M.1/2  No.35    ID: TW102-35
10.Chanakarn  Yanasarn             M.1/2  No.36    ID: CY102-36
11.Onnicha   Kesornsri              M.1/2  No.45     ID: OK102-45

Past Simple Tense


โครงสร้างประโยคบอกเล่า

  • ประธาน (ทุกตัว) + กริยาช่องที่ 2
I, You, We, They, Cats
He, She, It, A cat
ate

ตัวอย่าง 
ate bananas yesterday.
ฉัน กิน กล้วย เมื่อวาน
You cooked dinner for me last week.
คุณ ทำอาหาร เย็น ให้ ฉัน เมื่อสัปดาห์ ที่แล้ว
We cleaned the house last month.
พวกเรา ทำความสะอาด บ้าน เมื่อเดือน ที่แล้ว

โครงสร้างประโยคปฏิเสธ

  • ประธาน + did+ not + กริยาช่องที่ 1 (กริยาไม่เติม s ทุกกรณี)
I, You, We, They, Cats
He, She, It, A cat
did not
eat.
เหตุที่กริยาใช้กริยาช่องที่ 1 เพราะ did เป็นกริยาช่องที่ 2 ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกว่าเป็นเหตุการในอดีตอยู่แล้ว จึงไม่ต้องใช้กริยาช่องที่ 2 อีกแต่อย่างใด
ตัวย่อ
did not  = didn’t  (ดิด+อือ+ท อ่านเร็วๆนะครับเป็น ดิดอึทะ)
ตัวอย่าง
did not eat bananas yesterday.
ฉัน ไม่ได้ กิน กล้วย เมื่อวาน
You didn’t cook dinner for me last week.
คุณ ไม่ได้ ทำอาหาร เย็น ให้ ฉัน เมื่อสัปดาห์ ที่แล้ว
We did not clean the house last month.
พวกเรา ไม่ได้ ทำความสะอาด บ้าน เมื่อเดือน ที่แล้ว

ประโยคคำถาม  Yes / No Question

การทำประโยคคำถามให้เอาคำว่า Did มาวางไว้หน้าประโยคแค่นั้นเองและอย่าลืมเติมเครื่องหมายคำถามท้ายประโยคด้วยนะครับ
ประโยคคำถามแบ่งออกเป็นสองประเด็นคือ ถามในรูปแบบบอกเล่า และถามรูปแบบปฏิเสธ

1. การถามในรูปแบบบอกเล่า 

  • Did + ประธาน + กริยาช่องที่ 1 (กริยาไม่เติม s ทุกกรณี)
Did
I, you, we, they, cats
he, she, it, a cat
eat?
ตัวอย่าง
Did you eat bananas yesterday?
คุณ กิน กล้วย เมื่อวาน ใช่ไหม
Yes, I did. /No, I didn’t.
ใช่                /  ไม่ใช่
Did I cook dinner for you last week.
ผม ทำอาหาร เย็น ให้ คุณ เมื่อสัปดาห์ ที่แล้ว ใช่ไหม
Yes, you did. / No, you didn’t.
ใช่                      /  ไม่ใช่
Did we clean the house last month.
พวกเรา ทำความสะอาด บ้าน เมื่อเดือน ที่แล้ว ใช่ไหม
Yes, we did. / No, we didn’t.
ใช่                      /  ไม่ใช่

2. การถามในรูปแบบปฏิเสธ

การถามในรูปปฏิเสธแบ่งออกอีกสองประเด็นคือ ในรูปแบบเต็ม และรูปแบบย่อ
  • รูปแบบเต็ม
  • Did + ประธาน +not+ กริยาช่องที่ 1 (กริยาไม่เติม s ทุกกรณี)
Did
I, you, we, they, cats
he, she, it, a cat
not
eat?
  • รูปแบบย่อ
  • Didn’t + ประธาน + กริยาช่องที่ 1 (กริยาไม่เติม s ทุกกรณี)
Didn’t
I, you, we, they, cats
he, she, it, a cat
eat?
ตัวอย่าง

Did he not buy a computer last Sunday?
เขา ไม่ได้ซื้อ คอมพิวเตอร์ เมื่อวันอาทิตย์ ที่แล้ว ใช่ไหม
Did he not give you her heart last Christmas.
หล่อน ไม่ได้ ให้หัวใจ ของหล่อน แก่ คุณ เมื่อคริสต์มาส ที่แล้ว ใช่ไหม
Didn’t It rain heavily last rainy season.
ฝน ไม่ได้ ตก หนัก เมื่อหน้าฝน ที่แล้ว ใช่ไหม

Present Continuous Tense



Group : lotus 102-02

Members

1.Yannawut  Duangjit               M.1/2  No.1     ID: YD102-01
2.Thanaphat  Sriboonma           M.1/2  No.3     ID: TS102-03
3.Thanawat  Nanavichit            M.1/2  No.6     ID: TN102-06
4.Phutanes   Thangvorathum      M.1/2  No.10   ID: PT102-10
5.Thanawit   Norkam                M.1/2  No.23    ID: TN102-23
6.Athit          Traisaeng             M.1/2  No.30    ID: AT102-30
7.Pongdach   Laowpanich          M.1/2  No.33    ID: PL102-33
8.Anakawee  Sumritjearapol      M.1/2 No.34     ID: AS102-34
9.Tanawut     Wannasathian       M.1/2  No.35    ID: TW102-35
10.Chanakarn  Yanasarn             M.1/2  No.36    ID: CY102-36
11.Onnicha   Kesornsri              M.1/2  No.45     ID: OK102-45 



Present Continuous Tense

1. รูปแบบประโยค

ประโยคบอกเล่า

ประธาน (Subject)กริยา (be + กริยาเติม ing)
Warawanis smiling.

ประโยคคำถาม

Beประธาน (Subject)กริยาเติม ing
IsWarawansmiling?

ประโยคปฏิเสธ

ประธาน (Subject)benotกริยาเติม ing
Warawanisnotsmiling.

2. หลักการเติม ing ท้ายกริยา

กริยาโดยทั่วไป เติม ing ท้ายคำได้ทันที แต่ มีข้อยกเว้น ดังนี้
  1. คำพยางค์เดียวที่มีสระตัวเดียวและมีตัวสะกดตัวเดียว และถ้ามีเป็นคำที่มีมากกว่า 1 พยางค์ ต้องออกเสียงหนัก(stress)ที่พยางค์หลัง ต้องเพิ่มตัวสะกดอีก 1 ตัว แล้วจึงเติม ing เช่น
    run -> running
    stop -> stopping
    begin -> beginning
    แต่ open -> opening (เพราะออกเสียงหนักที่พยางค์หน้า)
  2. คำที่ลงท้ายด้วย e และไม่ออกเสียงตัว e ให้ตัด e ทิ้งก่อน แล้วจึงเติม ing เช่น
    make -> making
    use -> using ใช้
  3. คำที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยน ie เป็น y แล้วจึงเติม ing เช่น
    tie -> tying
    die -> dying
    lie -> lying

3. การใช้ Present Continuous Tense

  1. ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นในขณะที่กำลังพูด มักจะมีคำว่า now เพื่อบอกว่ากำลังทำอยู่ หรือ กำลังเกิดขึ้น (กริยาบางตัวไม่สามารถใช้ Tense นี้ได้)
    เหตุการณ์กำลังเกิดขึ้น
    You are studying English now.
    You are not running now.
    Are you sleeping?
    They are reading their books.
    They are not watching television.
  2. ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังทำอยู่ในช่วงนี้ แต่อาจจะไม่กำลังเกิดขึ้นในขณะที่พูดก็ได้ เช่น ประโยคต่อไปนี้ อาจจะพูดในขณะกำลังนั่งคุยกันเล่น เป็นการเล่าสู่กันฟังว่า ตอนนี้กำลังทำอะไรอยู่ คำว่า now ในภาษาอังกฤษ อาจจะหมายถึง เดี๋ยวนี้ วันนี้ อาทิตย์นี้ เดือนนี้ ปีนี้ ก็ได้ (แต่ชีวิตนี้มันจะยาวไปนะ)
    เหตุการณ์เกิดขึ้น ในช่วงเวลาที่พูด
    I am studying to become a doctor. (ผมกำลังเรียนหมอ)
    I am not studying to become a dentist. (ฉันกำลังเรียนเป็นหมอฟัน)
    I am reading the book Kathi's Happiness by Ngampan. (ผมกำลังอ่านหนังสือเรื่องความสุขของกะทิ แต่งโดย งามพรรณ -- ขณะพูดไม่ได้กำลังอ่าน แต่เล่าให้ฟัง การอ่าน อาจต้องใช้เวลา 2-3 วัน)
    I am not reading any books right now. (ตอนนี้ไม่ได้อ่านหนังสืออะไรเลย)
    Are you working on any special projects at work?
    Aren't you teaching at the university now?
  3. ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้
    เหตุการณ์จะเกิดเร็ว ๆ นี้
    • I am meeting some friends after work. (หลังเลิกงานเดี๋ยวผมไปหาเพื่อนหน่อย)
    • I am not going to the party tonight. (คืนนี้ผมไม่ไปงาน)
    • Is Somsak visiting his parents next weekend? (เสาร์-อาทิตย์นี้ สมศักดิ์จะไปหาพ่อแม่เขาหรือเปล่า)
    • Isn't he coming with us tonight? (เขาไม่ไปกับเราคืนนี้หรือ?)
  4. ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก เป็นเหตุการณ์ที่มักจะไม่ค่อยดี เช่น มาสายเสมอ เป็นต้น ข้อสังเกตุคือ จะมีคำว่า always หรือ constantlyอยู่ด้วย เพื่อเน้นว่า เกิดเป็นประจำ(น่าเบื่อหน่ายเหลือเกิน) ในความหมายนี้ จะคล้ายกับ Present Simple ในกรณีพูดสิ่งสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นประจำ เป็นนิสัย แต่ความหมายของ Present Continuous Tense นี้ เป็นไปในทางลบ
    เหตุเกิดประจำ น่าเบื่อหน่าย
    • She is always coming to class late. (เจ้าหล่อนมาสายประจำ)
    • He is constantly talking. I wish he would shut up. (หมอนั่นคุยไม่หยุด อยากให้หุบปากบ้าง)
    • I don't like them because they are always complaining. (ผมไม่ชอบพวกนั้นเลย ชอบบ่นเป็นประจำ)

Present Simple Tense





Group : lotus 102-02

Members

1.Yannawut  Duangjit               M.1/2  No.1     ID: YD102-01
2.Thanaphat  Sriboonma           M.1/2  No.3     ID: TS102-03
3.Thanawat  Nanavichit            M.1/2  No.6     ID: TN102-06
4.Phutanes   Thangvorathum      M.1/2  No.10   ID: PT102-10
5.Thanawit   Norkam                M.1/2  No.23    ID: TN102-23
6.Athit          Traisaeng             M.1/2  No.30    ID: AT102-30
7.Pongdach   Laowpanich          M.1/2  No.33    ID: PL102-33
8.Anakawee  Sumritjearapol      M.1/2 No.34     ID: AS102-34
9.Tanawut     Wannasathian       M.1/2  No.35    ID: TW102-35
10.Chanakarn  Yanasarn             M.1/2  No.36    ID: CY102-36
11.Onnicha   Kesornsri              M.1/2  No.45     ID: OK102-45 


Present Simple Tense

 โครงสร้างประโยค  คือ   Subject + Verb 1

          ใช้กับเหตุการณ์

1. ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่เป็นความจริงตลอดไปหรือเป็นความจริงตามธรรมชาติ เช่น 
The sun rises in the east.( พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก )                                                Fire is hot. ไฟร้อน )
             2. ใช้กับการกระทำที่ทำจนเป็นนิสัย มักจะมีกลุ่มคำที่มีความหมายว่า เสมอๆ บ่อยๆ ทุกๆ อยู่เช่น      
                      I get up at six o’clock everyday. ฉันตื่นนอนเวลา นาฬิกาทุกวัน )                                                                           
หลักการจำและนำไปใช้
              1.  ประธาน  He, She, It  หรือ 1 เดียวเท่านั้น ต้องเติม หรือ es  ท้ายคำกริยาด้วย มีกริยาช่วย คือ does 
               2.  ประธาน I, You, We, They, หรือ 2 ขึ้นไป กริยาเหมือนเดิม มีกริยาช่วย คือ  do
   3.  do และ does  ใช้ในประโยค คำถามและปฏิเสธ
   4.  ในประโยคมีคือ does กริยาไม่ต้องเติม s / es

ชนิดของประโยค
    1. ประโยคบอกเล่า =   Subject + Verb1 + (Object).   เช่น

                 She likes English .
                 Jack plays football everyday.
                 I like Thai .   
                 Jack and his friends play football everyday.

     2. ประโยคคำถาม
         2.1  Yes/No question
               ใช้  Do, Does + ประธาน + กริยา ?  

                 Does she like English? 
               Does Jack play football everyday?                 
                 Do you like Thai?
                 Do Jack and his friends play football everyday?

            การตอบแบบ Short answer  
               Yes, he/she/it does.
                 No, he/she/it doesn’t.

                 Yes, I/you/we/they do.
                 No, I/you/we/they don’t.
        
2.2   ใช้ Question words 
       (What/ Where/ When / Why/ ……+ do/does + ประธาน + กริยา…….?) เช่น
          
           What do you eat for lunch?       I eat noodles.
                      Where does Jim go Mondays?   He goes to school. 
                                   How do they go to school?         They go to school by school bus.


     3. ประโยคปฏิเสธ ใช้ do not (don’t), does not (doesn’t) ตามด้วยคำกริยาแท้รูปเดิม          I don’t like Thai.                                                                                  
         She 
doesn’t like English.                                                                               
         Jack 
doesn’t play football everyday.         
                                                                                   
หลักการเติม s ที่คำกริยา
1.กริยาที่ลงท้ายด้วย o, s, x, chssและ sh,  ให้เติม es เช่น
        pass - passes = ผ่าน       brush - brushes = แปรงฟัน    catch - catches = จับ                             
go - goes = 
ไป               
box - boxes = 
ชก
2.กริยาที่ลงท้ายด้วย และหน้า y ไม่ใช่  a e i o u ให้เปลี่ยน เป็น i แล้วเติม es
       study studies เรียน,          cry - cries = ร้องไห้,         fry - fries = ทอด    
3. กริยาที่นอกเหนือจากที่ไม่เข้ากฎในข้อ และ ข้อ ให้เติม ได้เลย

Adverb of Frequency  ใช้ขยายคำกริยา เพื่อบอกถึงความถี่ของการกระทำ และจะวางไว้หน้าคำกริยานั้นๆด้วย ยกเว้น sometimes อยู่ ต้นประโยคก็ได้ เช่น
                 always    สม่ำเสมอ 100 %           usually    เป็นประจำ 80 %     often       บ่อยๆ 60 %
           sometimes    บางครั้งบางคราว 30 %   seldom    นานๆครั้ง 10 %       never     ไม่เคย 0 %

Examples:
      Sandy always goes to school early.
      Mary usually cooks dinner.
      We often drink milk.
      I never go to London.
                         Sometimes I eat pizza for lunch.